Sat. May 18th, 2024

Tag: ยึดทรัพย์

ทำไม? ยังถูกยึดทรัพย์หลังพ้นระยะเวลา 10 ปี (หมดอายุความตามยึดทรัพย์ไปแล้ว)

หนี้บัตรเครดิตและบัตรกดเงินสด เมื่อเป็นคดีความแล้ว เราต้องรู้ก่อนว่าเป็นคดีอะไร เพราะลูกหนี้บางคนโดนเจ้าหนี้ขู่เข้าไป ก็คิดว่าจะต้องไปติดคุกแน่ ๆ แต่จริง ๆ ไม่ใช่เลย และบางคนก็สงสัยว่า หลังจากที่ศาลตัดสินไปแล้ว 10 ปี แต่ทำไมเจ้าหนี้จะมาตามยึดทรัพย์ได้อีก แบบนี้ทำได้หรือไม่? ในบทความนี้มีคำตอบ … ไปอ่านกันเลย

5 ข้อต้องทำ หลังได้รับอนุมัติสินเชื่อ เพื่อป้องกันปัญหาบานปลาย

เชื่อว่ามากกว่า 95% ไม่มีใครหรอกอยากเป็นหนี้  แล้วอีก 5% ชอบเป็นหนี้งั้นรึ? คำตอบคือ “ไม่น่าจะใช่” เอาแบบกลาง ๆ จะเป็นในเรื่องของการลงทุนมากกว่า หากกิจการดำเนินไปตามที่วางแผนเอาไว้ ก็เอากำไรไปชำระหนี้ ซึ่งเราจะไม่พูดถึง เพราะไกลตัวไปมาก…

อย่าเหนียวหนี้ อย่าเป็นคนไม่มี ไม่หนี ไม่จ่าย

ขึ้นหัวข้อแบบนี้ บอกเลยว่าเจ้าหนี้จะของขึ้นมาก เพราะมีลูกหนี้หลาย ๆ คนเป็นแบบนี้กันเยอะ ในยุคออนไลน์ ยิ่งทำให้เห็นพฤติกรรมของลูกหนี้ ผ่านทาง social อยู่บ่อย ๆ ประเภทกินหรู อยู่แพง แต่เหนียวหนี้ขั้นสุด (ประมาณนั้น)

4 เงื่อนไขการยึดทรัพย์ ในส่วนความเป็นเจ้าของทรัพย์สิน

เมื่อเหตุการณ์การค้างชำระหนี้ของเรา ดำเนินมาถึงขั้นตอนของการถูกยึดทรัพย์ ก็ไม่ได้หมายความว่าเจ้าพนักงานบังคับคดี จะยึดได้ทุกสิ่งทุกอย่างเสมอไป เพราะต้องได้รับการยืนยันแน่นอนก่อนว่า ทรัพย์นั้นเป็นของลูกหนี้จริง ๆ หากกระทำการโดยพละการหรือผิดพลาดใด ๆ ไป ก็อาจจะมีความผิดได้เหมือนกัน

ถูกศาลพิพากษาแล้ว กรมบังคับคดีจะเริ่มอายัดเงินเดือนเมื่อไหร่

ขั้นตอนก่อนที่กรมบังคับคดีจะเริ่มอายัดทรัพย์ หรืออายัดเงินเดือน เราต้องเข้าใจก่อนว่า ผู้ที่จะเริ่มกระบวนการนี้คือเจ้าหนี้ โดยจะเป็นผู้นำคำพิพากษาของศาลไปเขียนคำร้อง และยื่นต่อกรมบังคับคดี เพื่อให้อายัดเงินเดือนของเรา โดยระบุในคำร้องว่า เรา(ลูกหนี้)ไม่ยอมจ่ายหนี้ที่ค้างชำระกันมาเนิ่นนาน ตามที่ศาลได้พิพากษาไปก่อนหน้านี้แล้ว จึงเป็นเหตุผลให้ต้องยื่นคำร้อง พร้อมแนบหลักฐานต่าง ๆ มาด้วย